พจนานุกรม / ดิกชันนารี่

แปล ไทย-อังกฤษ , อังกฤษ-ไทย , ไทย-ไทย ออนไลน์

พจนานุกรม อังกฤษ-ไทย , ไทย-ไทย :

เลือกพจนานุกรม กรอกคำศัพท์คลิกปุ่ม 'แปล' , แปลภาษา แปลประโยค ภาษาอังกฤษ
ตรงตัว
เคลียร์ข้อมูล

ป หมายถึง/ความหมาย

น. การแสดงธรรมครั้งแรก, (ศน.) การแสดงธัมม-จักกัวัตนสูตรแก่พระัญจวัคคีย์ หลังจากที่พระองค์ได้ตรัสรู้แล้ว ๖๐ วัน.
อ.เปลื้อง ณ.นคร
น. ระยะแรกนับแต่ตรัสรู้, คำว่า โพธิกาล หมายถึง ระยะตั้งแต่พระพุทธเจ้าตรัสรู้จนถึงรินิพพาน, ท่านผู้รู้ได้แบ่งโพธิกาลออกเ็น ๓ ระยะ แต่การแบ่งก็ไม่ตายตัวทีเดียวว่าระยะไหนจากไหนถึงไหน กำหนดโดยระมาณว่า ๑. ฐมโพธิกาล ตั้งแต่ตรัสรู้จนได้พระสาวกรุ่นแรก (๖๐ องค์) ๒. มัชฌิมโพธิกาล ตั้งแต่ส่งสาวกไระกาศศาสนา จนทรงลงอายุสังขาร ๓. ัจฉิมโพธิกาล ตั้งแต่ ทรงลงอายุสังขารจนถึงรินิพพาน ทั้งนี้ตามที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณ-วโรรสทรงจัดไว้.
อ.เปลื้อง ณ.นคร
น. กฎเบื้องต้นหรือข้อสำคัญ; ชื่อพิธีของกษัตริย์ ในครั้งโบราณกระทำแก่กษัตริย์ผู้เ็นเชลย คือ ตัดศีรษะเอาโลหิตมาล้างพระบาท.
อ.เปลื้อง ณ.นคร
น. คำว่า กัล์ หรือ กั คือ ระยะเวลาแสนนาน ซึ่งเ็นหน่วยหนึ่งแห่งระยะเวลา, ตามคติในลัทธิศาสนาฮินดูว่า กัล์หนึ่งเท่ากับวันหนึ่งของพระพรหม หรือเท่ากับ ๔,๓๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ี มนุษย์, ตามคติในพระพุทธศาสนาว่า กัล์ มี ๓ ลักษณะ คือ ๑. มหากัล์ คือ ระยะเวลาตั้งแต่โลกจักรวาลถึงแก่ความระลัยแล้วกลับมีขึ้นใหม่ แบ่งออกเ็น ๔ กัล์ คือ ฐมกัล์ (เ็นระยะเวลาที่โลกจักรวาลถึงแก่ความระลัยด้วยน้ำ ไฟ หรือลม) ทุติยกัล์ (เ็นระยะเวลาว่างเล่าจากโลกจักรวาล) ตติยกัล์ (เ็นระยะเวลาที่เริ่มเกิดโลกจักรวาลขึ้นใหม่จนสำเร็จเ็นรู) ๔ . จตุตถ-กัล์ (เ็นระยะเวลาที่โลกจักรวาลดำรงอยู่ต่อไ พอหมดระยะเวลาของจตุตถกัล์แล้ว โลกจักร-วาลเริ่มเสื่อมถึงความระลัยและเกิดใหม่วนเวียน กันไไม่มีที่สิ้นสุด) ๒. อสงขัยกัล์ ๓. อันตรกัล์ (ดู กัล์ ในสารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตย- สถาน เล่ม ๒).
อ.เปลื้อง ณ.นคร
น. ฌานทีแรก มีองค์ ๕ คือ วิตก วิจาร ีติ สุข เอกัคตา.
อ.เปลื้อง ณ.นคร
ฐมดุสิต : [ะถมดุสิด] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
ราชบัณฑิตยสถาน
(กศ.) น. การให้คำแนะนำเมื่อเริ่มการระชุมหรือเริ่มกิจการอันหนึ่ง เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมระชุมและ ผู้เกี่ยวข้องทราบว่าควรจะฏิบัติอย่างไร จะค้นอะไรได้ที่ไหน เมื่อเกิดมีข้อสงสัยจะติดต่อถามที่ผู้ใด, เ็นคำตั้งขึ้นเทียบคำ (อก. orientation).
อ.เปลื้อง ณ.นคร
น. บุรุษที่ ๑, ตามไวยากรณ์ภาษาบาลี ได้แก่ สรรพนามพวกที่พูดถึง เช่น เขา, ตามไวยากรณ์ภาษาไทย ได้แก่ สรรพนามพวกที่แทนชื่อผู้พูด เช่น ข้า เรา.
อ.เปลื้อง ณ.นคร
น. อาบัติาราชิกข้อที่ ๑, อาบัติหนักที่สุดเรียกว่า าราชิก คือ เสพเมถุน ภิกษุต้องเข้าแล้วขาดจากภิกษุภาวะ.
อ.เปลื้อง ณ.นคร
น. ยามทีแรก, ครั้งโบราณแบ่งคืนหนึ่งเ็น ๓ ยาม ยามละ ๔ ชั่วโมง ยามต้นเรียกฐมยาม ยามที่ ๒ เรียกมัชฌิมยาม ยามที่ ๓ เรียกัจฉิมยาม, ตามบาลีแบ่งกลางคืน ออกเ็น ๔ ยาม คือ ฐมยาม มัชฌิมยาม ัจฉิมยาม และัจจุสมัย, ฐมยาม คือ เวลาระหว่าง ๑๘.๐๐ น. ถึง ๒๑.๐๐.
อ.เปลื้อง ณ.นคร

แสดง 161 - 170 จาก 3,011 คำ , หน้า 17/302
© 2002-2024 by ONLINE-ENGLISH-THAI-DICTIONARY. All rights reserved. About.